ข้อมูล

นพพล  จันทร์กระจ่างแจ้ง
อาจารย์นพพล  จันทร์กระจ่างแจ้ง
NOPPOL JANKRAJANGJAENG
ประวัติการศึกษา
    ปริญญาตรี
        1. ปริญญาตรี วุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่สำเร็จการศึกษา 2558
        2. ปริญญาตรี วุฒิการศึกษา Bachelor's Degree in Arts (Teaching Chinese as a Foreign Language), Yunnan University, China ปีที่สำเร็จการศึกษา 2557

    บัณฑิตศึกษา
      ปริญญาโท
          - ปริญญาโท วุฒิการศึกษา Master of Teaching Chinese to Speakers of Other Languages, Fudan University, China ปีที่สำเร็จการศึกษา 2560

รางวัลเชิดชูเกียรติ (AWARDS OF HONOR)
    -
ความเชียวชาญ (FIELDS OF EXPERTISE)
    -
ผลงานทางวิชาการ (ACADEMIC PUBLICATION)
    1) เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน (TEACHING PUBLICATION)/ตำรา (textbook)
    ยังไม่มีข้อมูลแสดง
    2) รายงานการวิจัย (RESEARCH REPORT)
            [1] นพพล จันทร์กระจ่างแจ้ง ประพรรธน์ พละชีวะ กาญจนา เวชบรรพต สายนภา วงศ์วิศาล และพูนพชร ทัศนะ. (2562). รายงานโครงการพันธกิจสัมพันธ์แก้ปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท โครงการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน พื้นที่บ้านพรสวรรค์ หมู่ 8 ตำบลเขาฉกรรจ์ อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี.  แหล่งทุน : งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี.
            [2] ชุดโครงการวิจัย เรื่อง “การพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ภาษาจีนสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี”  แหล่งทุน : ทุนสนับสนุนการวิจัย แผนงานสำคัญ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาพื้นที่ (VRU-Flagship) ประจำปีงบประมาณ 25563 ครั้งที่ 3 คณะกรรมกองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
    3) บทความวิจัย (RESEARCH ARTICLE) / บทความวิชาการ (ACADEMIC ARTICLE)
            [1] นพพล จันทร์กระจ่างแจ้ง. (2561). การศึกษาค้นคว้าของไหว้เจ้าในเทศกาลสำคัญของชาวไทยเชื้อสายจีนในประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 เดือนมกราคม – มิถุนายน 2561 : น. 39-52. (TCI 2)
            [2] นพพล จันทร์กระจ่างแจ้ง. (2562). การศึกษาวิเคราะห์ข้อผิดพลาด และปัญหาการสอนไวยากรณ์ภาษาจีนหน่วยคำเสริมกริยาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนกศิลป์-ภาษาจีน โดยใช้แบบทดสอบไวยากรณ์ภาษาจีน. วารสารสวนสุนันทาวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน 2562 : น. 64-77. (TCI 1)
            [3] นพพล จันทร์กระจ่างแจ้ง และณัฐพงศ์ พืชภูมิ. (2563). หลักคุณธรรมความกตัญญูของขงจื๊อที่สะท้อนผ่านความเชื่อและพิธีกรรมของชาวไทยเชื้อสายจีน : กรณีศึกษาพื้นที่อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 เดือนมีนาคม – เมษายน 2563 : น. 73-88. (TCI 2)
            [4] นพพล จันทร์กระจ่างแจ้ง และศิริวรรณ เรืองศรี. (2563). การเปรียบเทียบพญานาคกับมังกรในมุมมองของศาสนาและความเชื่อ. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2563 : น. 165-179. (TCI 2)
            [5] นพพล จันทร์กระจ่างแจ้ง ยุภาพร นอกเมือง และอรรคภณ วชิรวัชร์. (2565). สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้ภาษาจีนของครู ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนภาษาจีนในโรงเรียนพื้นที่จังหวัดปทุมธานี. วารสารครุศาสตร์สารคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน 2565 : น. 136-154. (TCI 2)
            [6] นพพล จันทร์กระจ่างแจ้ง และปริสลา จี้ฟู. (2565). การประเมินผลการดําเนินโครงการเรียนภาษาจีนหลักสูตรระยะสั้น ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน 2565 : น. 143-159. (TCI 1)
            [7] นพพล จันทร์กระจ่างแจ้ง และสันติพงษ์ ทองดี. (2565). การพัฒนาทักษะการจดจำคำศัพท์ภาษาจีนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบกลวิธีลินซ์ควบคู่กับการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่ม. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2565 : น. 33-43. (TCI 1)
    4) รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ (PROCEEDING)
            [1] นพพล จันทร์กระจ่างแจ้ง และปวรวิทย์ กิจสิงห์. (2562). การสำรวจความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สายศิลป์-ภาษาจีน โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ ที่มีต่อข้อสอบวิชาความถนัดทางภาษาจีน(PAT7.4). เอกสารหลังการประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มศรีอยุธยา ครั้งที่ 10. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. 4-5 กรกฎาคม 2562 : น. 178-182.
            [2] นพพล จันทร์กระจ่างแจ้ง และภรทิพย์ สุขสว่าง. (2562). ความเชื่อ การไหว้ และบทบาทของศาลเจ้าแม่กวนอิม(มูลนิธิเทียนฟ้า) ที่มีต่อชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีนในย่านเยาวราช. เอกสารหลังการประชุมวิชาการระดับชาติพหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. 19-20 ธันวาคม 2562 : น. 394-407.

email
    noppol@vru.ac.th